ติดตามข้อมูลที่น่าสนใจอีกมากมายเกี่ยวกับระบบการชำระเงินไทยและเส้นทางการเดินทางสู่สังคมไร้เงินสด ได้ในการนำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง “The Journey to Less-Cash Society: Thailand’s Payment System at a Crossroads” ในงานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย ประจำปี 2561 ในหัวข้อ “สู่ยุคใหม่ของระบบการเงินและธนาคารกลาง” วันที่ 24-25 กันยายน 2561 ณ โรงแรม Centara Grand at Central World
ที่มา: The Journey to Less-Cash Society: Thailand’s Payment System at a Crossroads (Lamsam et al., forthcoming)
กราฟแสดงจำนวนวัน เมื่อนำสินทรัพย์ทั้งหมดของบุคคลที่มีสินทรัพย์มากที่สุดในแต่ละประเทศ มาแบ่งจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อวันของรัฐบาล จากข้อมูลพบว่าหลายประเทศในกลุ่ม East Asia และ Latin America รวมทั้งไทยอยู่ในกลุ่มที่มีค่าของดัชนีในระดับสูง
กราฟแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาต่อ GDP และจำนวนการยื่นสิทธิบัตรต่อประชากรล้านคนของประเทศไทยเทียบกับประเทศอื่น จะเห็นได้ว่า ทั้งด้านการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาและผลลัพธ์ด้านนวัตกรรมของประเทศไทยอยู่ในระดับต่ำมาก
The credit-to-GDP gap is defined as the difference between the credit-to-GDP ratio and its long-run trend. The gap indicator was adopted as a common reference point under Basel III to guide the build-up of countercyclical capital buffers.
หมายเหตุ: * Economic Complexity Index (ECI) คือ ดัชนีที่ใช้วัด “productive technology” แต่ละประเทศ โดยประเทศที่มีการผลิตและส่งออกสินค้าที่มีความความหลากหลายและซับซ้อนทางเทคโนโลยีมากกว่าก็จะมีค่า ECI ที่สูงกว่า
ที่มา: The Atlas of Economic Complexity, led by Hausmann, Hidalgo et al.
ที่มา: Gateway to Global Aging Data, Produced by the USC Program on Global Aging, Health & Policy, with funding from the National Institute on Aging (R01 AG030153)
แผนภาพแสดงดัชนี Big Mac ที่ได้จากการนำเอาราคาของ Big Mac ในแต่ละประเทศมาเปรียบเทียบกันเพื่อคำนวณอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศต่างๆ ที่อ้างอิงจากความแตกต่างของราคา Big Mac ว่ามีค่าสูงกว่า (overvalue) หรือต่ำกว่า (undervalue) อัตราแลกเปลี่ยนจริงในตลาด โดยอาศัยทฤษฎีของ Purchasing Power Parity (PPP)
ที่มา: ดูรายละเอียดข้อมูลและ Interactive map ได้ที่ World Bank’s Data โดยสามารถติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมและข้อมูลดัชนีชี้วัดทางสุขภาพรายประเทศอื่นๆได้จาก World Health Indicators
จำนวนผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตและโทรศัพท์มือถือต่อประชากร 100 คน ของประเทศไทยในปี 2014 (พิจารณาควบคู่ไปกับ GDP per capita) อยู่ในระดับปานกลางเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ