Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Not Over the Hill: Exploring the Digital Divide among Vulnerable Older Adults in Thailand
Discussion Paper ล่าสุด
Not Over the Hill: Exploring the Digital Divide among Vulnerable Older Adults in Thailand
ใครคือผู้กำหนดทิศทางค่าจ้างของแรงงานไทย: ภาครัฐ หรือภาคเอกชน?
aBRIDGEd ล่าสุด
ใครคือผู้กำหนดทิศทางค่าจ้างของแรงงานไทย: ภาครัฐ หรือภาคเอกชน?
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Central Bank Reviews
งานสัมมนาล่าสุด
Central Bank Reviews
International Policy Forum on Climate Finance
งานประชุมเชิงนโยบายล่าสุด
International Policy Forum on Climate Finance
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Research Exchangesexchanges
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/b879a9cd0b224aa28445f5395c48e4a6/e9a79/cover.png
26 มกราคม 2564
20211611619200000

Currency Market Interdependence and COVID-19

Microsoft Teams
สุรภาพ รายะนาคร
Currency Market Interdependence and COVID-19

เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2564 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้รับเกียรติจาก ดร.สุรภาพ รายะนาคร ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ฝ่ายบริหารข้อมูลและดาต้าอนาไลติติกส์ ธนาคารแห่งประเทศไทย มาบรรยายในงาน PIER Research Exchange ออนไลน์ในหัวข้อ “Currency Market Interdependence and COVID-19”

ในงานศึกษาชิ้นนี้ ดร.สุรภาพ ได้ศึกษาโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสกุลเงินต่าง ๆ ในช่วง COVID-19 ด้วยวิธี Minimum Spanning Tree (MST) และ Hierarchical Clustering

ดร.สุรภาพ ได้ใช้ข้อมูลอัตราแลกเปลี่ยนรายวันของ 24 สกุลเงิน 5 สกุลเงินดิจิทัล (cryptocurrency) และ ทองคำ (gold spot) ในการศึกษาและพบว่า ช่วงก่อน COVID-19 สกุลเงินที่อยู่ในภูมิภาคเดียวกันจะมีความสัมพันธ์กันสูง ส่วนสกุลเงินดิจิทัลจะมีการเกาะกลุ่มกันเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ mine ได้และกลุ่มที่ mine ไม่ได้ นอกจากนั้นแล้ว ทองคำและสกุลเงินเยน (Japanese yen) มีคุณสมบัติของ safe-haven กล่าวคือมีการเคลื่อนไหวที่เป็นอิสระจากสกุลเงินอื่น ๆ มากที่สุด ในช่วงวิกฤติ COVID-19 ระลอกแรกในช่วงกลางปีที่แล้ว พบว่าสกุลเงินต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กันมากขึ้น ที่เห็นได้ชัดคือเงินสกุลในภูมิภาคเดียวกันเคลื่อนตัวไปด้วยกันมากขึ้นกว่าเดิม และสกุลเงินดิจิทัลทุกสกุลมีการเคลื่อนไหวแบบรวมกลุ่มกันมากขึ้น อย่างไรก็ดี หลังจากมีการผ่อนคลายการล็อกดาวน์ ความสัมพันธ์ระหว่างสกุลเงินดิจิทัลกลับไปคล้ายช่วงก่อน COVID-19 และพบว่า ทองคำ สกุลเงินเยนและฟรังก์สวิส (Swiss franc) มีลักษณะเป็น safe-haven

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • เอกสารนำเสนอ
สุรภาพ รายะนาคร
สุรภาพ รายะนาคร
ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สุรภาพ รายะนาคร
สุรภาพ รายะนาคร
ธนาคารแห่งประเทศไทย

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email