Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Weather Fluctuations and Economic Growth at Subnational Level: Evidence from Thailand
Discussion Paper ล่าสุด
Weather Fluctuations and Economic Growth at Subnational Level: Evidence from Thailand
ส่องปัญหาหนี้ครัวเรือนไทย: สาเหตุและทางเลือกของนโยบายการเงิน
aBRIDGEd ล่าสุด
ส่องปัญหาหนี้ครัวเรือนไทย: สาเหตุและทางเลือกของนโยบายการเงิน
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
PIER Research Workshop ประจำปี 2568
งานประชุมเชิงปฏิบัติการต่อไป
PIER Research Workshop ประจำปี 2568
Central Bank Reviews
งานสัมมนาล่าสุด
Central Bank Reviews
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
ประกาศรายชื่อผู้ได้รับทุนสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ประจำปี 2568 รอบที่ 1
ประกาศล่าสุด
ประกาศรายชื่อผู้ได้รับทุนสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ประจำปี 2568 รอบที่ 1
PIER Blogblog
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/3605e0d4fd06218d51dc8f48dba6442d/e9a79/080.png
26 มิถุนายน 2563
20201593129600000
PIER Statistics Series

สัดส่วนการตายจาก COVID-19 และสัดส่วนการตายส่วนเกิน ในช่วงมีนาคม-พฤษภาคม 2020 ของประเทศต่าง ๆ

อัครพัชร์ เจริญพานิช

080

กราฟแสดงให้เห็นถึงอัตราการตายจาก COVID-19 ที่ประกาศอย่างเป็นทางการ และอัตราการตายส่วนเกิน (excess mortality) ของประเทศไทย เปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในช่วงที่ COVID-19 ระบาด อัตราการตายอย่างเป็นทางการอาจจะสะท้อนผลกระทบจาก COVID-19 ได้ไม่ทั้งหมด เพราะการวินิจฉัยสาเหตุการตายอาจจะผิดพลาดได้ทำให้การตายจากโรคน้อยกว่าความเป็นจริง ในช่วงเดียวกันปริมาณคนไข้ก็มีมากขึ้น และเพื่อที่จะตั้งรับการระบาดของ COVID-19 ทำให้ความสามารถที่จะบริการโรคอื่น ๆ ลดลงด้วย เป็นเหตุให้การตายจากโรคอื่นเพิ่มขึ้น

ดังนั้น อัตราการตายส่วนเกินจึงได้ถูกคำนวณขึ้นมา จากส่วนต่างของจำนวนการตายจริงกับจำนวนการคาดการณ์ของการตายเมื่อไม่มีโรคระบาด โดยจะเห็นว่าอัตราการตายส่วนเกินของหลายประเทศอยู่ในระดับที่สูงกว่าอัตราการตายจาก COVID-19 ที่ประกาศอย่างเป็นทางการ

สำหรับประเทศไทยอัตราการตายจาก COVID-19 ที่ประกาศอย่างเป็นทางการอยู่ในระดับที่ต่ำมาก (0.05%) และอัตราการตายส่วนเกินอยู่สูงกว่าเพียงเล็กน้อย (1.8%)

แหล่งข้อมูล

  • The Economist
  • กรมการปกครอง
อัครพัชร์ เจริญพานิช
อัครพัชร์ เจริญพานิช
นักวิชาการอิสระ
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email