Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
Discussion Paper ล่าสุด
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
aBRIDGEd ล่าสุด
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
งานประชุมเชิงปฏิบัติการต่อไป
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
งานสัมมนาล่าสุด
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Blogblog
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/3a4ed03b6527a3dbd6ccf107e24bc528/e9a79/083.png
25 กันยายน 2563
20201600992000000
PIER Statistics Series

รายได้จริงต่อหัวของประชากรในประเทศกลุ่ม ASEAN+3 (2011US$)

อัครพัชร์ เจริญพานิช

กราฟแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของรายได้จริงต่อหัว (Real GDP per capita) ของประชากรในประเทศกลุ่ม ASEAN+3 ตั้งแต่ปี 1950 ถึงปี 2016 รายได้ของประเทศญี่ปุ่นอยู่ในระดับที่สูงสุดมาตลอด แต่ถูกแซงโดยประเทศสิงคโปร์ประมาณปี 2000 ขณะที่ประเทศเกาหลีใต้ก็ได้เติบโตอย่างรวดเร็วจนรายได้ของประเทศเพิ่มขึ้นมาอยู่ในระดับเทียบเท่ากับประเทศญี่ปุ่นในปี 2016 รายได้ของประเทศไทยเคยอยู่ในระดับที่ต่ำกว่ารายได้ของประเทศอินโดนีเซีย และประเทศฟิลิปปินส์ในช่วง 1950 แต่ก็สามารถที่จะเติบโตแซงหน้าทั้งสองประเทศได้ ขณะที่รายได้ของประเทศมาเลเซียอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงมาตลอด

หมายเหตุ: ไม่มีประเทศบรูในในฐานข้อมูล

แหล่งข้อมูล

  • Maddison Project Database 2018
อัครพัชร์ เจริญพานิช
อัครพัชร์ เจริญพานิช
นักวิชาการอิสระ
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email