Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Disaggregated Inflation Dynamics in Thailand: Which Shocks Matter?
Discussion Paper ล่าสุด
Disaggregated Inflation Dynamics in Thailand: Which Shocks Matter?
จะพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยให้ดีขึ้นได้อย่างไรตั้งแต่เกิดจนตาย?
PIER Blog ล่าสุด
จะพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยให้ดีขึ้นได้อย่างไรตั้งแต่เกิดจนตาย?
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
เจาะลึกนโยบายผู้สูงอายุ ควรทำอย่างไรเพื่อให้คนไทย “แก่” แต่ยัง “เก๋า”?
PIER Research Brief ล่าสุด
เจาะลึกนโยบายผู้สูงอายุ ควรทำอย่างไรเพื่อให้คนไทย “แก่” แต่ยัง “เก๋า”?
Surviving Loss: Coping Strategies among Widow Households in Thai Rural Areas
งานสัมมนาล่าสุด
Surviving Loss: Coping Strategies among Widow Households in Thai Rural Areas
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
ประกาศรับสมัครทุนสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ประจำปี 2566 รอบที่ 2
ประกาศล่าสุด
ประกาศรับสมัครทุนสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ประจำปี 2566 รอบที่ 2
PIER Blogblog
QR code
Year
2023
2022
2021
2020
...
/static/6b7b4d9707c935f0fe14aaf7766ad355/e9a79/final.png
29 กรกฎาคม 2564
20211627516800000
PIER Statistics Series

การแพร่กระจายของเชื้อโควิด-19 สายพันธุ์เดลต้าในแต่ละประเทศ

ภาพแสดงอัตราการตรวจพบเชื้อโควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า (B.1.617.2 หรือ 21A) ในประเทศต่าง ๆ ตั้งแต่ต้นปี 2021 เป็นต้นมา โดยสายพันธุ์เดลต้า เป็นสายพันธุ์ที่มีอัตราการแพร่เชื้อสูงกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิมประมาณ 50% จึงเป็นสายพันธุ์ที่ส่งผลให้จำนวนผู้ติดเชื้อในหลายประเทศสูงขึ้นในระยะหลัง

สถิติดังกล่าว คำนวณจากสัดส่วนของตัวอย่างเชื้อที่เป็นสายพันธุ์เดลต้า จากตัวอย่างทั้งหมดที่ได้รับการตรวจหาสายพันธุ์จากการลำดับเบสพันธุกรรม (sequencing) ซึ่งอาจไม่ใช่สัดส่วนของผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์เดลต้าทั้งหมด เนื่องจากการทำ sequencing เป็นกระบวนการที่มีขั้นตอนมากกว่าการตรวจเชื้อโควิด-19 ด้วยวิธี RT-PCR

จากข้อมูลของ GISAID จนถึงวันที่ 11 ก.ค. ทั่วโลก พบตัวอย่างที่เป็นสายพันธุ์เดลต้า 51,001 ตัวอย่าง จากการทำ sequencing ทั้งหมด 55,638 ตัวอย่าง หรือคิดเป็น 91.7% โดยประเทศที่มีประชากรมากกว่า 50 ล้านคนที่มีอัตราการพบสายพันธุ์เดลต้ามากที่สุด คือ จีน (100%) บังกลาเทศ (100%) รัสเซีย (100%) อังกฤษ (99%) อินโดนีเซีย (94%) อินเดีย (92%) ไนจีเรีย (83%) สหรัฐฯ (81%) เยอรมนี (79%) และปากีสถาน (79%) สำหรับประเทศไทย พบสายพันธุ์เดลต้าใน 56% ของกลุ่มตัวอย่าง

แหล่งข้อมูล

  • CoVariants
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
ฐิติ ทศบวร
ฐิติ ทศบวร
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2566 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email