Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Thailand and the Middle-Income Trap: An Analysis from the Global Value Chain Perspective
Discussion Paper ล่าสุด
Thailand and the Middle-Income Trap: An Analysis from the Global Value Chain Perspective
ค่าเงินบาทผันผวน: “ตัวปรับสมดุล” หรือ “ตัวป่วน” เศรษฐกิจไทย
aBRIDGEd ล่าสุด
ค่าเงินบาทผันผวน: “ตัวปรับสมดุล” หรือ “ตัวป่วน” เศรษฐกิจไทย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Confidence and College Applications: Evidence from a Randomized Intervention
งานสัมมนาล่าสุด
Confidence and College Applications: Evidence from a Randomized Intervention
The Impact of Climate Change on Thai Households
งานสัมมนาล่าสุด
The Impact of Climate Change on Thai Households
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรไทย
ประกาศล่าสุด
ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรไทย
PIER Blogblog
QR code
Year
2023
2022
2021
2020
...
/static/e570661c1592decee68395626e529fed/e9a79/cover.png
30 พฤศจิกายน 2564
20211638230400000
PIER Statistics Series

ขนาดพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในแต่ละสัปดาห์ของแต่ละตำบลระหว่างเดือนกันยายน–พฤศจิกายน 2564

แผนภาพแสดงขนาดพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในแต่ละสัปดาห์ของแต่ละตำบล โดยใช้ข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน–พฤศจิกายน 2564 วงกลมแต่ละวงแสดงถึงการตรวจพบพื้นที่ที่เกิดอุทกภัยในแต่ละสัปดาห์ของแต่ละตำบลในประเทศไทย โดยขนาดและสีของวงกลมสื่อถึงขนาดพื้นที่ที่เกิดอุทกภัยในตำบลนั้น ๆ ในช่วงเวลาหนึ่งสัปดาห์ ขนาดวงกลมที่ใหญ่ขึ้น (สีที่เปลี่ยนจากสีม่วงเป็นสีเหลือง) หมายถึงพื้นที่ที่พบอุทกภัยในตำบลมีพื้นที่มากขึ้น

จากแผนภาพพบว่าในช่วงเดือนกันยายนมีการตรวจพบอุทกภัยในภาคกลางตอนบนบริเวณจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดข้างเคียงในลุ่มน้ำยม และภาคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณจังหวัดนครราชสีมา ในเดือนตุลาคมพบว่าพื้นที่ที่เกิดอุทกภัยมีการกระจายเป็นวงกว้างมากขึ้น โดยพื้นที่เกิดอุทกภัยมากได้แก่ภาคกลางในหลายจังหวัดบริเวณลุ่มน้ำยมและลุ่มน้ำเจ้าพระยา และในภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบพื้นที่เกิดอุทกภัยในบริเวณลุ่มน้ำมูลและลุ่มน้ำชี ในเดือนพฤศจิกายนยังคงพบพื้นที่ที่เกิดอุทกภัยในบริเวณเดิม แต่ในช่วงปลายของเดือนพฤศจิกายนเริ่มมีการพบการเกิดอุทกภัยขึ้นในบางจังหวัดในภาคใต้ เช่น จังหวัดนครศรีธรรมราช

แหล่งข้อมูล

  • GISTDA: Thailand Flood Monitoring System
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สุรศักดิ์ เจิดพสุพร
สุรศักดิ์ เจิดพสุพร
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2566 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email