Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
Discussion Paper ล่าสุด
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
aBRIDGEd ล่าสุด
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
งานประชุมเชิงปฏิบัติการต่อไป
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
งานสัมมนาล่าสุด
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Blogblog
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/f0ca25e81db78df81c778ee89e58a504/e9a79/cover.png
9 พฤศจิกายน 2565
20221667952000000

แรงงานไทยในระบบอยู่ในระบบนานแค่ไหน

นฎา วะสีชินวัฒน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
จำนวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมภาคบังคับแบ่งตามปีเกิด

จำนวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมภาคบังคับแบ่งตามปีเกิด

ที่มา: บทความวิจัย "Aging, Inadequacy and Fiscal Constraint : the Case of Thailand"

รูปด้านบนแสดงจำนวนผู้ประกันตนภาคบังคับ (มาตรา 33) สัญชาติไทยโดยคำนวณจากข้อมูลปี 2005–2015 โดยแต่ละเส้นแสดงจำนวนผู้ประกันตนตามปีเกิด เช่น กลุ่มที่เกิดปี 1976–1980 (เส้นที่ 3 จากซ้าย) จะมีอายุอยู่ในช่วง 25–29 ปี ในปี 2005 และมีจำนวน 2.85 ล้านคน เมื่อตามคนกลุ่มนี้ไปถึงปี 2015 ซึ่งจะมีอายุเพิ่มขึ้นเป็น 35–39 ปี จะมีจำนวนลดลงเป็น 2.15 ล้านคน หากตามกลุ่มปีเกิดอื่น ๆ ก็จะเห็นภาพจำนวนผู้ประกันตนที่ค่อย ๆ ลดลงเช่นเดียวกัน

ภาพดังกล่าว ชี้ให้เห็นว่าแรงงานไทยส่วนหนึ่งออกจากระบบประกันสังคมค่อนข้างเร็ว ซึ่งต่างจากภาพของประเทศพัฒนาแล้วซึ่งแรงงานส่วนใหญ่จะออกจากระบบประกันสังคม เมื่อเริ่มขอรับบำนาญได้ ภาพนี้จึงเป็นคำถามวิจัยที่น่าสนใจว่า ทำไมแรงงานไทยจำนวนไม่น้อยถึงออกนอกระบบเร็วนัก เป็นเพราะ

  1. งานนอกระบบมีความยืดหยุ่นมากกว่า
  2. งานนอกระบบค่าตอบแทนดีกว่า
  3. มีการกีดกันทางอายุของนายจ้างทำให้กลับเข้าระบบไม่ได้ หรือเป็นเพราะ
  4. เรื่องสุขภาพ ทุพพลภาพจากอุบัติเหตุ หรือภาระทางครอบครัว ทำให้แรงงานต้องออกจากตลาดแรงงานค่อนข้างเร็ว

เรื่องพลวัตของตลาดแรงงานมีนัยทางนโยบายทั้งในมิติผลิตภาพของประเทศในภาพรวมและการออกแบบระบบความคุ้มครองทางสังคมที่เหมาะสม

นฎา วะสี
นฎา วะสี
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
ชินวัฒน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
ชินวัฒน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email