Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
Discussion Paper ล่าสุด
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
aBRIDGEd ล่าสุด
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
World Bank x PIER Climate Finance Policy Forum
งานประชุมเชิงนโยบายล่าสุด
World Bank x PIER Climate Finance Policy Forum
Market Design in Practice
งานสัมมนาล่าสุด
Market Design in Practice
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Research Exchangesexchanges
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/dc76d73e415b1941b126c54438b6fccb/41624/cover.jpg
17 พฤศจิกายน 2560
20171510876800000

The Unemployed: What We Learn from the Thai Social Security Data

ห้องประชุม 283 อาคาร 2 ชั้น 8 ธนาคารแห่งประเทศไทย
The Unemployed: What We Learn from the Thai Social Security Data

เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2560 ดร.นฎา วะสี หัวหน้ากลุ่มงานวิจัย สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้นำเสนองานวิจัยในหัวข้อ “The Unemployed: What We Learn from the Thai Social Security Data” ในงาน PIER Research Exchange ซึ่งเป็นงานวิจัยร่วมกับคุณจิรายุ จันทรสาขา และคุณปุญญวิชญ์ เศรษฐ์สมบูรณ์ เศรษฐกร ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค ธนาคารแห่งประเทศไทย โดย ดร.นฎา ได้นำเสนอผลการศึกษาเบื้องต้นจากการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ประกันตนที่ว่างงานในระบบประกันสังคมในปี 2014–2016 ว่าผู้ประกันตนที่ว่างงานมีคุณลักษณะอย่างไร อัตราการกลับเข้าทำงานของผู้ว่างงานเป็นอย่างไร ปัจจัยใดมีผลกระทบต่อระยะเวลาการว่างงาน และผู้ที่สามารถกลับไปทำงานได้ กลับไปทำงานในอุตสาหกรรมเดิมหรือย้ายภาคอุตสาหกรรม

ผลเบื้องต้นพบว่าปัจจัยหลักที่มีผลต่ออัตราการกลับเข้าทำงาน คือ สาเหตุการออกจากงาน และอายุของผู้ประตน แรงงานที่ออกจากงานเพราะหมดสัญญาจ้างจะกลับเข้าทำงานเร็วที่สุด แรงงานที่ออกจากกงานเพราะโดนไล่ออกมีแนวโน้มจะกลับเข้าทำงานเร็วกว่าแรงงานที่สมัครใจลาออก แม้กลุ่มแรกจะสามารถขอรับสิทธิประโยชน์ได้นานกว่ากลุ่มหลัง (180 วัน เทียบกับ 90 วัน) แรงงานอายุมากมีแนวโน้มที่จะกลับเข้าทำงานช้ากว่าหรือไม่กลับเข้าทำงาน และไม่ว่าแรงงานจะว่างงานด้วยสาเหตุใด อัตราการกลับเข้าทำงานเมื่อระยะเวลาว่างงานเกินหนึ่งปีขึ้นไปจะช้ากว่าช่วงแรกมาก สำหรับแรงงานที่สามารถกลับเข้าไปทำงานได้นั้น โดยเฉลี่ย 60% จะมีการย้ายภาคอุตสาหกรรม ซึ่งภาคพาณิชย์เป็นภาคอุตสาหกรรมหลักที่รองรับแรงงานจากภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ นอกจากนี้ การศึกษานี้ยังแสดงให้เห็นว่าค่าใช้จ่ายสำหรับการประกันการว่างงานในปี 2016 มีการปรับตัวขึ้นจากปี 2014 ประมาณ 35% โดยสาเหตุหลักมาจากจำนวนผู้มาขอรับสิทธิที่เพิ่มขึ้น และสาเหตุรองคือ อัตราค่าจ้างที่ปรับตัวสูงขึ้น

ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
นฎา วะสี
นฎา วะสี
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email