Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Building Thailand’s Beveridge Curve: New Insights of Thailand’s Labour Markets with Internet Job Platforms
Discussion Paper ล่าสุด
Building Thailand’s Beveridge Curve: New Insights of Thailand’s Labour Markets with Internet Job Platforms
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
aBRIDGEd ล่าสุด
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
World Bank x PIER Climate Finance Policy Forum
งานประชุมเชิงนโยบายล่าสุด
World Bank x PIER Climate Finance Policy Forum
Market Design in Practice
งานสัมมนาล่าสุด
Market Design in Practice
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Research Exchangesexchanges
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/41b7890fe2d17304181e72fd084a72f5/41624/cover.jpg
4 พฤศจิกายน 2565
20221667520000000

Age-Dependent Risk Aversion: Re-evaluating Fiscal Policy Impacts of Population Aging

ห้อง Auditorium อาคาร 1 ชั้น 1 ธนาคารแห่งประเทศไทย / Microsoft Teams
Age-Dependent Risk Aversion: Re-evaluating Fiscal Policy Impacts of Population Aging

เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2565 ดร.พิทวัส พูนผลกุล จากสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้นำเสนอผลงานวิจัยในงาน PIER Research Exchange ในหัวข้อ “Age-Dependent Risk Aversion: Re-evaluating Fiscal Policy Impacts of Population Aging”

ที่ผ่านมา หลายงานศึกษาใช้แบบจำลอง Overlapping Generations (OLG) เพื่อเปรียบเทียบนโยบายรักษาเสถียรภาพด้านการคลังภายใต้สังคมสูงวัย โดยหนึ่งในเกณฑ์ที่มักถูกนำมาใช้จัดอันดับทางเลือกนโยบายต่าง ๆ คือการประเมินสวัสดิภาพของครัวเรือนในเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดี การศึกษานี้เสนอว่าแบบจำลองส่วนใหญ่ไม่ได้คำนึงถึงปัจจัยที่สำคัญ 2 มิติ คือ

  1. ความกลัวความเสี่ยง (risk aversion) ที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงอายุ
  2. ความไม่แน่นอนของอรรถประโยชน์ (utility) ที่อาจเกิดขึ้นในช่วงชีวิต

งานศึกษานี้ได้พัฒนาแบบจำลองที่คำนึงถึง 2 มิติดังกล่าว และพบว่ากลุ่มครัวเรือนที่มองว่าตนเองจะกลัวความเสี่ยงมากขึ้นเมื่ออายุสูงขึ้น (age-dependent increasing risk aversion: IRA) จะมีชั่วโมงทำงานและการเก็บออมมากกว่ากลุ่มครัวเรือนที่กลัวความเสี่ยงเท่ากันในทุกช่วงอายุ (constant risk aversion: CRA) เนื่องจากกลุ่ม IRA ต้องการสะสมทรัพยากรมาใช้ในการดูแลความเสี่ยงมากกว่า นอกจากนี้ ผลการศึกษายังพบว่าการใช้มาตรการขยายอายุเกษียณหรือการลดเงินบำนาญจะส่งผลให้ความผันผวนในช่วงสูงวัยปรับสูงขึ้นเมื่อเทียบกับการขึ้นอัตราสบทบ จึงเป็นการสร้างต้นทุนให้กับคนกลุ่ม IRA ที่ต้องแบ่งทรัพยากรส่วนหนึ่งมาดูแลความไม่แน่นอนที่เพิ่มขึ้นดังกล่าว

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • เอกสารนำเสนอ
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
พิทวัส พูนผลกุล
พิทวัส พูนผลกุล
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email