Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Building Thailand’s Beveridge Curve: New Insights of Thailand’s Labour Markets with Internet Job Platforms
Discussion Paper ล่าสุด
Building Thailand’s Beveridge Curve: New Insights of Thailand’s Labour Markets with Internet Job Platforms
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
aBRIDGEd ล่าสุด
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
World Bank x PIER Climate Finance Policy Forum
งานประชุมเชิงนโยบายล่าสุด
World Bank x PIER Climate Finance Policy Forum
Market Design in Practice
งานสัมมนาล่าสุด
Market Design in Practice
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Economics Seminarsseminars
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/07a5e081bbe68d3c26118b12be9f30d3/41624/cover.jpg
26 พฤษภาคม 2566
20231685059200000

Endogenous Risk Aversion and Financial Decision Making

ห้องประชุม Auditorium / Microsoft Teams
Endogenous Risk Aversion and Financial Decision Making

เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2565 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้รับเกียรติจาก Associate Professor Tom Y. Chang จาก USC Marshall School of Business มาบรรยายในงาน PIER Economics Seminar ในหัวข้อ “Endogenous Risk Aversion and Financial Decision Making”

แนวคิดหลักของงานศึกษานี้ คือ การกลัวความเสี่ยง (risk aversion) ของคนที่เพิ่มขึ้นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถส่งผลให้การกลัวความเสี่ยงในเรื่องอื่น ๆ เพิ่มขึ้นได้ โดยงานศึกษานี้พยายามพิสูจน์แนวคิดดังกล่าวด้วยการประเมินการกลัวความเสี่ยงในตลาดหุ้นที่สะท้อนจากความผันผวน (volatility) ของผลตอบแทน จากนั้นจึงดูผลต่อการกลัวความเสี่ยงในอีกสองด้านที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับตลาดหุ้นโดยตรง และทั้งสองด้านนี้ยังเป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในระยะยาว ต่างจากความเสี่ยงในตลาดหุ้นที่เป็นระยะสั้น ได้แก่

  1. จำนวนการซื้อประกัน ซึ่งหากคนกลัวความเสี่ยงในอนาคตมาก ก็จะซื้อประกันมากขึ้น
  2. อัตราการตอบปฏิเสธการให้กู้ ซึ่งหากผู้ปล่อยสินเชื่อกลัวความเสี่ยงมาก ก็จะเข้มงวดกับการปล่อยกู้มากขึ้น และปล่อยกู้น้อยลง

ผลการศึกษาพบว่า ความผันผวนในตลาดหุ้นที่สูงทำให้จำนวนการซื้อประกันของคนสูงขึ้น และจำนวนการปล่อยสินเชื่อลดลง นอกจากนี้ หากความเสี่ยงในตลาดหุ้นลดลง คนที่ซื้อประกันไปแล้วยังมีอัตราการยกเลิกประกันสูงขึ้นด้วย ซึ่งผลการศึกษาดังกล่าวสนับสนุนแนวคิดหลักของการศึกษานี้

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • เอกสารนำเสนอ
ชมคลิปวีดีโอ
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
Tom Y. Chang
Tom Y. Chang

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email