Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Not Over the Hill: Exploring the Digital Divide among Vulnerable Older Adults in Thailand
Discussion Paper ล่าสุด
Not Over the Hill: Exploring the Digital Divide among Vulnerable Older Adults in Thailand
China’s Economy, Structural Changes and the New Geoeconomic Landscape
PIER Blog ล่าสุด
China’s Economy, Structural Changes and the New Geoeconomic Landscape
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Central Bank Reviews
งานสัมมนาล่าสุด
Central Bank Reviews
International Policy Forum on Climate Finance
งานประชุมเชิงนโยบายล่าสุด
International Policy Forum on Climate Finance
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
PIER’s Targeted Research Grant 2025 – Call for Proposal
ประกาศล่าสุด
PIER’s Targeted Research Grant 2025 – Call for Proposal
PIER Blogblog
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/21987f9fbeb273ecf948a14c2ae27be1/41624/cover.jpg
3 มิถุนายน 2559
20161464912000000
เศรษฐศาสตร์เข้า “ท่า”

เงินเฟ้อต่ำ เพราะราคาน้ำมันลดลงเท่านั้นจริงหรือ?

พิม มโนพิโมกษ์
เงินเฟ้อต่ำ เพราะราคาน้ำมันลดลงเท่านั้นจริงหรือ?

บทความนี้กลั่นกรองเนื้อหาจากบทความ aBRIDGEd ฉบับเต็มเรื่อง “พลวัตเงินเฟ้อไทยภายใต้กระแสโลก”

หลายท่านอาจรู้สึกว่าพักนี้ ราคาข้าวของในท้องตลาดนั้นแพงขึ้นเรื่อย ๆ ขัดกับข้อเท็จจริงที่เงินเฟ้อไทยติดลบอย่างต่อเนื่องเป็นเวลายาวนานถึง 15 เดือนตั้งแต่ต้นปี 2558 ซึ่งแปลว่า ราคาสินค้าและบริการโดยส่วนใหญ่ของประเทศในปีที่ผ่านมาปรับลดลงเรื่อย ๆ แต่หากพิจารณาจากราคาสินค้ารายย่อย ปัจจัยหลักที่ฉุดให้เงินเฟ้อไทยติดลบคือ ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่ร่วงลงมาอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้ราคาสินค้าในหมวดพลังงาน และราคาสินค้าประเภทอื่น ๆ ที่มีต้นทุนจากน้ำมันปรับลดลงตามไปด้วย หากแต่ราคาสินค้าในบางประเภท เช่น อาหารสด ยังคงปรับเพิ่มขึ้นอยู่ จากมุมมองนี้ อย่างน้อยเราก็สบายใจได้ในระดับหนึ่งว่า เงินเฟ้อไทยที่ติดลบคงไม่ได้เข้าข่ายภาวะเงินฝืด อย่างที่ใคร ๆ เกรงกันว่าจะเป็นสัญญาณของการเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยเรื้อรังเหมือนที่ประเทศญี่ปุ่นได้ประสบเมื่อปลายทศวรรษ 1990 เพราะราคาสินค้าและบริการโดยส่วนใหญ่ของไทยยังคงปรับเพิ่มขึ้นอยู่ สะท้อนการจับจ่ายใช้สอยที่ยังผลักดันให้เศรษฐกิจโดยรวมของไทยยังขยายตัวไปได้ อย่างไรก็ตาม การเติบโตของเศรษฐกิจไทยในช่วงนี้ค่อนข้าง เป็นไปอย่างล่าช้า ดังนั้น คำถามที่อาจตามมาก็คือ แล้วเงินเฟ้อไทยจะยังคงอยู่ในระดับต่ำไปอีกนานเท่าไหร่ และเมื่อราคาน้ำมันโลกปรับสูงขึ้นในวันข้างหน้า เงินเฟ้อไทยจะสูงขึ้นหรือไม่...

[อ่านต่อที่ ThaiPublica]

พิม มโนพิโมกษ์
พิม มโนพิโมกษ์
ธนาคารแห่งประเทศไทย
Topics: Monetary EconomicsMacroeconomics
Tags: globalizationglobal economyinflationoutput gap
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email