Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
Discussion Paper ล่าสุด
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
aBRIDGEd ล่าสุด
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
งานประชุมเชิงปฏิบัติการต่อไป
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
งานสัมมนาล่าสุด
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Blogblog
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/457401ef0cb9eac1aab449c269f5d1e2/e9a79/cover.png
25 มกราคม 2560
20171485302400000
เศรษฐศาสตร์เข้า “ท่า”

จุลทรรศน์ภาคส่งออกไทย: ส่งออกยุคผลัดใบ เลือดใหม่เร่งขับเคลื่อน

ปิติ ดิษยทัตทศพล อภัยทานกฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์
จุลทรรศน์ภาคส่งออกไทย: ส่งออกยุคผลัดใบ เลือดใหม่เร่งขับเคลื่อน

บทความนี้กลั่นกรองเนื้อหาจากบทความ aBRIDGEd ฉบับเต็มเรื่อง “จุลทรรศน์ภาคส่งออกไทย: จับชีพจรภาคส่งออกจากการหมุนเวียนของผู้ประกอบการ”

บทความเศรษฐศาสตร์เข้า“ท่า”ของผู้เขียนฉบับก่อนได้สรุปข้อเท็จจริงสำคัญ 5 ประการเกี่ยวกับภาคส่งออกไทย หนึ่งในข้อเท็จจริงชี้ให้เห็นว่า ภาคส่งออกเป็นธุรกิจที่มีการหมุนเวียนของผู้เล่นสูง โดยในแต่ละปีจะมีผู้ส่งออกประมาณ 1 ใน 3 ที่เป็นผู้เล่นหน้าใหม่เข้ามาในตลาด และมีผู้เล่นจำนวนใกล้เคียงกันต้องออกจากสนามส่งออกไปในเวลาเดียวกัน ภาคส่งออกจึงปะปนไปด้วยผู้เล่นหน้าเก่าและใหม่อยู่ตลอดเวลา ผู้เล่นทั้ง 2 กลุ่มนี้มีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงทั้งในแง่ขนาด ความสามารถ และประสบการณ์ในการทำธุรกิจ การทำความเข้าใจปัจจัยที่อยู่เบื้องหลังการเติบโต (หรือไม่เติบโตในระยะหลัง) ของภาคส่งออกไทยคงไม่ครอบคลุมเพียงพอหากเราละเลยการวิเคราะห์การหมุนเวียนของผู้ประกอบการ งานวิจัยของผู้เขียนได้ศึกษาการส่งออกของไทยในช่วงปี 2001 ถึง 2015 โดยแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ได้แก่ 2001–2007, 2007–2011 และ 2011–2015 ในแต่ละช่วงเวลา เราสามารถจำแนกกลุ่มผู้ส่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้เล่นเดิมที่มีกิจกรรมส่งออกในปีฐาน (Incumbents) และ กลุ่มผู้ส่งออกที่เข้าสู่ตลาด (Entrants) หรือกล่าวง่าย ๆ คือ ผู้เล่นหน้าเก่ากับผู้เล่นหน้าใหม่ การเปลี่ยนแปลงของการส่งออกโดยรวมจะมีที่มาจากทั้ง 2 กลุ่ม คือ เกิดจากการขยาย หดตัว หรือการจากไปของผู้เล่นหน้าเก่า และการขยายตัวอันเกิดจากการเข้าสู่ตลาดของผู้เล่นหน้าใหม่...

[อ่านต่อที่ ThaiPublica]

ปิติ ดิษยทัต
ปิติ ดิษยทัต
ธนาคารแห่งประเทศไทย
ทศพล อภัยทาน
ทศพล อภัยทาน
ธนาคารแห่งประเทศไทย
กฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์
กฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์
University of California San Diego
Topics: International Trade
Tags: global economyexportstradecustoms data
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email