Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
Discussion Paper ล่าสุด
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
aBRIDGEd ล่าสุด
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
งานประชุมเชิงปฏิบัติการต่อไป
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
งานสัมมนาล่าสุด
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Blogblog
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/69761c598e5ca0b0129270dd5b54777e/e9a79/cover.png
25 เมษายน 2565
20221650844800000
เศรษฐศาสตร์เข้า “ท่า”

ความเหลื่อมล้ำ : หากไม่ปิดแต่เยาว์วัย ยิ่งโตไป ยิ่งปิดยาก

วีระชาติ กิเลนทองนฎา วะสี
ความเหลื่อมล้ำ : หากไม่ปิดแต่เยาว์วัย ยิ่งโตไป ยิ่งปิดยาก

มักเป็นที่พูดกันเสมอว่า ความเหลื่อมล้ำด้านความมั่งคั่งของคนไทยถือเป็นอันดับต้นๆ ในเอเชีย ช่องว่างของความมั่งคั่งนั้นเป็นผลของความเหลื่อมล้ำด้านโอกาสและเศรษฐกิจซึ่งสั่งสมมาแล้วทั้งชีวิต การจะไปปิดช่องว่างของความมั่งคั่งโดยตรงจึงเป็นเรื่องยาก แม้ภาครัฐจะใช้งบประมาณอย่างมหาศาลก็แทบจะไม่มีทางปิดช่องว่างนั้นลงได้ นโยบายที่พยายามกระจายรายได้ เช่น การเก็บภาษีคนรวยและให้เงินช่วยเหลือคนจน แม้จะช่วยแก้ปัญหาปากท้องในวันนี้และเป็นการลดความเหลื่อมล้ำด้านการบริโภค แต่ก็ยังไม่สามารถลดช่องว่างด้านความมั่งคั่งหรือป้องกันวัฏจักรของการส่งต่อความเหลื่อมล้ำจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งได้

บทความชิ้นนี้ขอเล่าถึงภาพความเหลื่อมล้ำในมิติต่างๆ ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร และทำไมการลดช่องว่างตั้งแต่ต้นทางจึงเป็นสิ่งจำเป็นและมีประสิทธิภาพมากกว่า...

[อ่านต่อที่ ThaiPublica]

วีระชาติ กิเลนทอง
วีระชาติ กิเลนทอง
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
นฎา วะสี
นฎา วะสี
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
Topics: Development EconomicsEducation Economics
Tags: inequality
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email