Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
Discussion Paper ล่าสุด
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
aBRIDGEd ล่าสุด
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
งานประชุมเชิงปฏิบัติการต่อไป
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
งานสัมมนาล่าสุด
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Blogblog
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/acbb277e55de7a5ba56b932c7cf214be/e9a79/cover.png
9 มิถุนายน 2565
20221654732800000
เศรษฐศาสตร์เข้า “ท่า”

ความไม่แน่นอนของรายได้ครัวเรือนกับการเข้าถึงการศึกษาของเด็กไทยในชนบท

ศศิวุฑฒิ์ วงษ์มณฑา
ความไม่แน่นอนของรายได้ครัวเรือนกับการเข้าถึงการศึกษาของเด็กไทยในชนบท

คนส่วนใหญ่มักเชื่อกันว่าการศึกษาเป็นการลงทุนเพื่ออนาคตและช่วยสร้างโอกาสในการยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของครอบครัว ในระดับนโยบาย การขยายโอกาสทางการศึกษายังมีส่วนสำคัญในการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมที่สะสมจากรุ่นสู่รุ่นและสร้างการเติบโตอย่างทั่วถึง (inclusive growth) อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างของฐานะทางเศรษฐกิจในสังคมไทยเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษา โดยเฉพาะสำหรับเด็กและเยาวชนจากครอบครัวที่มีรายได้และทรัพย์สินต่ำ

บทความนี้จะนำเสนอข้อค้นพบเชิงประจักษ์ว่า นอกจากการมีรายได้ต่ำหรือฐานะยากจนจะเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงการศึกษาของเด็กไทย การมีรายได้ไม่แน่นอน ซึ่งรวมไปถึงการเพิ่มขึ้นชั่วคราวของรายได้ ส่งผลให้การคงอยู่ในระบบโรงเรียนของนักเรียนไทยลดลง อย่างไรก็ดี ครัวเรือนมักมีแนวโน้มที่จะชดเชยการให้บุตรหลานออกจากโรงเรียนเมื่อเผชิญกับการมีรายได้ไม่แน่นอนโดยการเพิ่มค่าใช้จ่ายการศึกษาให้กับบุตรหลานที่อายุน้อยกว่าและยังอยู่ในระบบโรงเรียน

[อ่านต่อที่ ThaiPublica]

ศศิวุฑฒิ์ วงษ์มณฑา
ศศิวุฑฒิ์ วงษ์มณฑา
มหาวิทยาลัยบูรพา
Topics: Development EconomicsEducation Economics
Tags: human capitalrural householdthailandeducation
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email