Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Risk-Taking Behavior during Downturn: Evidence of Loss-Chasing and Realization Effect in the Cryptocurrency Market
Discussion Paper ล่าสุด
Risk-Taking Behavior during Downturn: Evidence of Loss-Chasing and Realization Effect in the Cryptocurrency Market
ประเทศต่าง ๆ เริ่มจ่ายบำนาญกันอายุเท่าไหร่?
PIER Blog ล่าสุด
ประเทศต่าง ๆ เริ่มจ่ายบำนาญกันอายุเท่าไหร่?
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Endogenous Risk Aversion and Financial Decision Making
งานสัมมนาล่าสุด
Endogenous Risk Aversion and Financial Decision Making
Confidence and College Applications: Evidence from a Randomized Intervention
งานสัมมนาล่าสุด
Confidence and College Applications: Evidence from a Randomized Intervention
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรไทย
ประกาศล่าสุด
ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรไทย
PIER Blogblog
QR code
Year
2023
2022
2021
2020
...
/static/c2d99a464d9e628bcb702558cf1fe5c7/e9a79/cover.png
23 ธันวาคม 2565
20221671753600000
เศรษฐศาสตร์เข้า “ท่า”

ปรากฏการณ์ค่าจ้างสองขั้วและความไม่เท่าเทียมของค่าจ้างในประเทศไทย

ปรากฏการณ์ค่าจ้างสองขั้วและความไม่เท่าเทียมของค่าจ้างในประเทศไทย

ปรากฎการณ์ “แรงงานสองขั้ว” (Labor market polarization) หมายถึง ปรากฏการณ์ที่ความต้องการแรงงานทักษะสูงและแรงงานทักษะต่ำเพิ่มขึ้นในขณะที่ความต้องการแรงงานทักษะปานกลางลดลง ปรากฎการณ์นี้มักพบในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา เยอรมนี สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น โดยเกิดจากโครงสร้างการจ้างงานที่เปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้มีความต้องการจ้างแรงงานทักษะสูงภายในประเทศมากขึ้น เพื่อทำงานประเภท non-routine tasks เช่น งานด้านการวิเคราะห์ ขณะเดียวกันก็มีความต้องการจ้างแรงงานทักษะต่ำเพื่อทำงานประเภท non-routine manual tasks ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดแทนได้ด้วยเครื่องจักรและต้องมีการปรับงานตามสภาพการณ์ที่เปลี่ยนไป เช่น งานด้านการดูแลผู้ป่วย การรักษาความปลอดภัย เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ความต้องการแรงงานทักษะปานกลางภายในประเทศ กลับมีแนวโน้มลดลง...

[อ่านต่อที่ ThaiPublica]

ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
Topics: DevelopmentLabor Markets
Tags: polarizationstructural changerif-regressionsdecompositionwage inequalityjob tasks
ศศิวิมล วรุณศิริ ปวีณวัฒน์
ศศิวิมล วรุณศิริ ปวีณวัฒน์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2566 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email