Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Building Thailand’s Beveridge Curve: New Insights of Thailand’s Labour Markets with Internet Job Platforms
Discussion Paper ล่าสุด
Building Thailand’s Beveridge Curve: New Insights of Thailand’s Labour Markets with Internet Job Platforms
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
aBRIDGEd ล่าสุด
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
World Bank x PIER Climate Finance Policy Forum
งานประชุมเชิงนโยบายล่าสุด
World Bank x PIER Climate Finance Policy Forum
Market Design in Practice
งานสัมมนาล่าสุด
Market Design in Practice
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Economics Seminarsseminars
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/29489682a2c7302c4c092aa6b191d482/e9a79/cover.png
31 มีนาคม 2564
20211617148800000
CDOT-PIER Joint Seminar Series

Epidemics with Behavior

Microsoft Teams
Epidemics with Behavior

เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2564 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ร่วมกับ IMF Capacity Development Office in Thailand (CDOT) ได้จัดงาน CDOT-PIER Joint Seminar โดยได้รับเกียรติจาก Satoshi Fukuda (PhD) จาก Bocconi University มาบรรยายในหัวข้อ “Epidemics with Behavior”

โดย Satoshi และคณะวิจัยได้นำแบบจำลอง SIR ซึ่งเป็นแบบจำลองการแพร่เชื้อของโรคระบาด มาดัดแปลงให้มีพฤติกรรมการรักษาระยะห่างของคนมาเป็นตัวแปรหนึ่งในแบบจำลอง ซึ่งเป็นตัวแปรทางพฤติกรรมที่ความเข้มข้นในการรักษาระยะห่างของคนส่งผลต่อโอกาสในการติดโรคโดยตรง ต้นทุนของการรักษาระยะห่าง (cost of distancing) อาจเป็นรายได้ที่ต้องสูญเสียหรือกิจกรรมทางสังคมที่ต้องงดไป และประโยชน์จากการรักษาระยะห่างนั้นคือโอกาสการสัมผัสโรคที่น้อยลง

นโยบายการควบคุมการระบาดที่ลดอัตราการส่งผ่านของโรค (transmission rate) อาทิ การให้ใส่หน้ากากนั้น ในระยะยาวจะทำให้ขนาด และความชุกของการระบาดลดลง อย่างไรก็ดี อัตราการส่งผ่านที่ลดลงอาจทำให้เกิดพฤติกรรมแบบ Risk compensation ที่เมื่อความเสี่ยงน้อยลงคนก็รักษาระยะห่างน้อยลง ซึ่งอาจทำให้้ความชุกสูงสุด (peak prevalence) ของการระบาดเพิ่มขึ้นในระยะสั้นก็เป็นได้ ก็อาจเป็นเหตุผลที่ทำให้เราพบเห็น second wave ของการระบาด

อย่างไรก็ดี แบบจำลองพบกว่าการลดต้นทุนของการรักษาระยะห่างนั้นทำให้ความชุกและอัตราการระบาดลดลง หากนโยบายเข้ามาช่วยลดต้นทุนในการรักษาระยะห่างโดยตรง ก็จะทำให้คนมีพฤติกรรมการรักษาระยะห่างมากขึ้น มีโอกาสสัมผัสเชื้อน้อยลง ซึ่งทำให้ความชุกสูงสุด และจำนวนการติดโรคทั้งหมดน้อยลงไปด้วย

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • เอกสารนำเสนอ
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
Satoshi Fukuda
Satoshi Fukuda

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email