Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Building Thailand’s Beveridge Curve: New Insights of Thailand’s Labour Markets with Internet Job Platforms
Discussion Paper ล่าสุด
Building Thailand’s Beveridge Curve: New Insights of Thailand’s Labour Markets with Internet Job Platforms
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
aBRIDGEd ล่าสุด
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
World Bank x PIER Climate Finance Policy Forum
งานประชุมเชิงนโยบายล่าสุด
World Bank x PIER Climate Finance Policy Forum
Market Design in Practice
งานสัมมนาล่าสุด
Market Design in Practice
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Economics Seminarsseminars
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/064827907fa1f64bdb9e4682eaec7ba7/e9a79/thumb_seminar.png
13 มิถุนายน 2565
20221655078400000

The Natural Rate of Interest Through a Hall of Mirrors

Microsoft Teams

เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2565 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้จัดงาน PIER Research Seminar โดยได้รับเกียรติจาก ดร.ภูริชัย รุ่งเจริญกิจกุล จาก Bank for International Settlements (BIS) มาบรรยายในหัวข้อ “The Natural Rate of Interest Through a Hall of Mirrors”

ดร.ภูริชัย กล่าวว่าในช่วงตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา อัตราดอกเบี้ยในหลาย ๆ ประเทศปรับตัวลดลงต่อเนื่อง ซึ่งนักวิจัยส่วนมากเชื่อว่าลดลงตามอัตราดอกเบี้ยธรรมชาติ (natural interest rate, r∗r^*r∗) ที่ถูกกำหนดโดยปัจจัยที่นอกเหนือการควบคุมของธนาคารกลาง เช่น การขยายตัวของประสิทธิภาพการผลิต (productivity growth) ที่ชะลอตัวลง หรือ การเข้าสู่สังคมสูงวัย (aging population) เป็นต้น อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนแล้ว จะพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและปัจจัยเหล่านี้ไม่ได้มีความชัดเจนมากนัก ทำให้น่าสนใจว่าการเคลื่อนไหวของ r∗r^*r∗ แท้จริงแล้วมาจากปัจจัยอะไร

ดร.ภูริชัย ได้นำเสนอแนวคิดใหม่ที่ว่าการลดลงของ r อาจเป็นผลจากการดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายของธนาคารกลางเสียเอง โดยได้พัฒนาแบบจำลอง New Keynesian ที่สมมติให้หน่วยเศรษฐกิจต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชนและธนาคารกลาง มีข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ (incomplete information) แต่พยายามเรียนรู้ค่า r ที่แท้จริงผ่านการอนุมานจากพฤติกรรมของอีกฝ่าย จึงทำให้เกิด informational feedback loop โดยผลการศึกษาพบว่า เมื่อเศรษฐกิจต้องเผชิญกับ shock และธนาคารกลางตอบสนองโดยการปรับลดดอกเบี้ย จะนำไปสู่การลดลงอย่างมากและยาวนานของ r∗r^*r∗ เนื่องจากภาคเอกชนเกิดการเรียนรู้จากการตัดสินใจของธนาคารกลางดังกล่าว นอกจากนี้ ดร.ภูริชัย ยังพบว่าแบบจำลองสามารถอธิบายการลดลงของอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (real interest rate) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008 ได้ค่อนข้างดี

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • เอกสารนำเสนอ
ชมคลิปวีดีโอ
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
ภูริชัย รุ่งเจริญกิจกุล
ภูริชัย รุ่งเจริญกิจกุล
ธนาคารแห่งประเทศไทย

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email