Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
Discussion Paper ล่าสุด
Exchange Rate Effects on Firm Performance: A NICER Approach
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
aBRIDGEd ล่าสุด
ผลกระทบของการขึ้นค่าเล่าเรียนต่อการตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
งานประชุมเชิงปฏิบัติการต่อไป
Joint NSD-PIER Applied Microeconomics Research Workshop
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
งานสัมมนาล่าสุด
Special Economic Zones and Firm Performance: Evidence from Vietnamese Firms
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
ประกาศล่าสุด
Call for Papers: PIER Research Workshop 2025
PIER Economics Seminarsseminars
QR code
Year
2025
2024
2023
2022
...
/static/3e4a0ad671c7aad9fa653278e5aed2fc/41624/cover.jpg
28 มกราคม 2568
20251738022400000

Redistribution, Distortions, and the Welfare Effects of Social Security

ห้องประชุมภิรมย์เจ้าพระยา ธปท. / Microsoft Teams
Redistribution, Distortions, and the Welfare Effects of Social Security

“เราควรออกแบบระบบประกันสังคมอย่างไรและระบบควรมีขนาดใหญ่แค่ไหน?”

งานวิจัย “Redistribution, distortions, and the welfare effects of Social Security” ของ ศ.ดร. พรพจ ปรปักษ์ขาม และคณะ ได้วิเคราะห์กรณีระบบประกันสังคมในสหรัฐฯ อย่างละเอียด โดย ดร.พรพจ เล่าว่า ประโยชน์หลักของระบบประกันสังคมของสหรัฐฯ ที่จ่ายบำนาญนั้น ได้แก่

  1. การประกันความเสี่ยงที่จะมีชีวิตอยู่เกินกว่าที่คาดคิด
  2. การกระจายรายได้จากคนที่มีรายได้มากช่วงทำงานไปสู่คนที่มีรายได้น้อย (ระบบของไทยไม่ได้มีข้อนี้)

อย่างไรก็ดี ตัวระบบเองก็มีการบิดเบือนหรือไม่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ประกันตนที่อยู่ในระบบ เช่น

  1. การเก็บภาษีที่หักจากรายได้อย่าง payroll tax ของอเมริกาในอัตราเท่ากันทุกกลุ่มอายุ กล่าวคือ กลุ่มคนหนุ่มสาวส่วนใหญ่มีรายได้น้อยกว่าช่วงวัยกลางคน และ มักเริ่มออมเพื่อเกษียณในช่วงวัยกลางคนซึ่งเริ่มมีรายได้สูงขึ้น ดังนั้น ภาษี payroll tax ซึ่งเป็นการบังคับออม จึงบิดเบือนพฤติกรรมของคนกลุ่มนี้ ให้เริ่มออมเพื่อใช้ในยามเกษียณเร็วกว่าที่พวกเขาจะเลือกเอง
  2. การที่ระบบจ่ายเงินในรูปแบบ บำนาญเพียงอย่างเดียว ก็ทำให้บิดเบือนการจัดการ portfolio ของผู้สูงอายุ เพราะ ผู้บริโภคบางคนอาจจะอยากได้รับเป็นเงินบำเหน็จมากกว่า หรือมีวินัยเก็บออมเองได้โดยไม่ต้องพึ่งภาครัฐ

ดังนั้น ขนาดของระบบประกันสังคมที่เหมาะสม จึงต้องคำนึงถึงสมดุลระหว่างประโยชน์ที่จะเกิดจากระบบ และผลกระทบที่เกิดจากการบิดเบือนความต้องการของผู้บริโภคเป็นสำคัญ

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • เอกสารนำเสนอ
  • Abstract
ชมคลิปวีดีโอ
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
พรพจ ปรปักษ์ขาม
พรพจ ปรปักษ์ขาม
National Graduate Institute for Policy Studies

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2568 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email