Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Analyzing Economic Growth Within the Framework of the Knowledge Economy Ecosystem model
Discussion Paper ล่าสุด
Analyzing Economic Growth Within the Framework of the Knowledge Economy Ecosystem model
ถอดบทเรียนมาตรการพักหนี้เกษตรกรไทย ช่วยเกษตรกรไทยได้จริงหรือ?
aBRIDGEd ล่าสุด
ถอดบทเรียนมาตรการพักหนี้เกษตรกรไทย ช่วยเกษตรกรไทยได้จริงหรือ?
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Research Briefs
BOT Symposium 2023: คน
งานประชุมวิชาการต่อไป
BOT Symposium 2023: คน
ถอดบทเรียนการพักหนี้เกษตรกรไทย: ควรทำตรงจุด ชั่วคราว และคำนึงถึงวินัยลูกหนี้ เพื่อช่วยแก้หนี้อย่างยั่งยืน
PIER Research Brief ล่าสุด
ถอดบทเรียนการพักหนี้เกษตรกรไทย: ควรทำตรงจุด ชั่วคราว และคำนึงถึงวินัยลูกหนี้ เพื่อช่วยแก้หนี้อย่างยั่งยืน
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
ประกาศรับสมัครทุนสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ประจำปี 2566 รอบที่ 2
ประกาศล่าสุด
ประกาศรับสมัครทุนสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ประจำปี 2566 รอบที่ 2
PIER Blogblog
QR code
Year
2023
2022
2021
2020
...
/static/e6f07bc9da480a6f49a0f2fd09258cc1/41624/cover.jpg
27 กันยายน 2559
20161474934400000
เศรษฐศาสตร์เข้า “ท่า”

จุลทรรศน์ภาคส่งออกไทย: 5 ข้อเท็จจริงจากข้อมูลการส่งสินค้า 500 ล้านรายการ

จุลทรรศน์ภาคส่งออกไทย: 5 ข้อเท็จจริงจากข้อมูลการส่งสินค้า 500 ล้านรายการ

บทความนี้กลั่นกรองเนื้อหาจากบทความ aBRIDGEd ฉบับเต็มเรื่อง “จุลทรรศน์ภาคส่งออกไทย What, Where, Who”

การค้าระหว่างประเทศเป็นเรื่องใกล้ตัวเรามากกว่าที่คิด เพราะเพียงแค่มองไปรอบ ๆ เราอาจพบว่าข้าวของหลายชิ้นนั้นถูกนำเข้ามา หรือมีชิ้นส่วนที่มาจากต่างประเทศ ในทางกลับกัน เป็นที่ทราบดีว่าประเทศไทยส่งออกสินค้าหลากหลายชนิดไปทั่วโลกซึ่งทำให้การส่งออกถือเป็นหนึ่งในรายได้หลักของประเทศ และเกี่ยวพันกับผู้คนในระบบเศรษฐกิจเป็นจำนวนมาก ปัจจัยภายนอกที่อาจจะกระทบกับการส่งออก เช่น เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า อัตราแลกเปลี่ยน หรือการย้ายฐานการผลิต จึงมักได้รับความสนใจจากสาธารณะชนอยู่เสมอ แต่หากตั้งคำถามว่า เรารู้จักผู้ส่งออกดีแค่ไหน และเข้าใจโครงสร้างภาคส่งออกอย่างเพียงพอหรือไม่ เรื่องนี้อาจหาคำตอบได้ไม่ง่ายนัก เนื่องจากที่ผ่านมาการวิเคราะห์ส่วนใหญ่ศึกษาภาคส่งออกในภาพรวม หรืออย่างมากก็แยกตามสินค้าหมวดต่าง ๆ การวิเคราะห์ในระดับนี้ทำให้เรามองข้ามความ-หลากหลายของผู้ประกอบการ ซึ่งแตกต่างกันอย่างมากทั้งในด้านความสามารถ ขนาด และประสบการณ์ ทั้งที่แท้จริงแล้ว ทิศทางการส่งออกในภาพรวมล้วนเป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้ส่งออกแต่ละราย การทำความเข้าใจภาคส่งออกย่อมหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องทำความรู้จักผู้ส่งออกไปพร้อมกัน...

[อ่านต่อที่ ThaiPublica]

Topics: International Trade
Tags: global economyexportstradecustoms data
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
ปิติ ดิษยทัต
ปิติ ดิษยทัต
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
ทศพล อภัยทาน
ทศพล อภัยทาน
ธนาคารแห่งประเทศไทย
กฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์
กฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์
University of California San Diego

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2566 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email