Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Thailand and the Middle-Income Trap: An Analysis from the Global Value Chain Perspective
Discussion Paper ล่าสุด
Thailand and the Middle-Income Trap: An Analysis from the Global Value Chain Perspective
ค่าเงินบาทผันผวน: “ตัวปรับสมดุล” หรือ “ตัวป่วน” เศรษฐกิจไทย
aBRIDGEd ล่าสุด
ค่าเงินบาทผันผวน: “ตัวปรับสมดุล” หรือ “ตัวป่วน” เศรษฐกิจไทย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Confidence and College Applications: Evidence from a Randomized Intervention
งานสัมมนาล่าสุด
Confidence and College Applications: Evidence from a Randomized Intervention
The Impact of Climate Change on Thai Households
งานสัมมนาล่าสุด
The Impact of Climate Change on Thai Households
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ
ป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรไทย
ประกาศล่าสุด
ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรไทย
PIER Blogblog
QR code
Year
2023
2022
2021
2020
...
/static/00f846e959e853ff1e57eef0ed8bc156/41624/cover.jpg
1 ตุลาคม 2563
20201601510400000
เศรษฐศาสตร์เข้า “ท่า”

เรียนรู้พฤติกรรมผู้ส่งออกไทย ขายมาก ขายน้อย ขายใคร?

เรียนรู้พฤติกรรมผู้ส่งออกไทย ขายมาก ขายน้อย ขายใคร?

บทความนี้กลั่นกรองเนื้อหาจากบทความ aBRIDGEd ฉบับเต็มเรื่อง “พฤติกรรมการส่งออกแบบสองขั้วของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทย”

เวลาพูดถึงผู้ส่งออก เรามักจะนึกถึงภาพบริษัทขนาดใหญ่หรือบริษัทที่มีรายได้ส่วนมากมาจากการขายให้กับตลาดต่างประเทศ แต่ในความเป็นจริงแล้ว งานวิจัยเศรษฐศาสตร์ด้านการค้าระหว่างประเทศกลับพบว่า ผู้ส่งออกส่วนใหญ่ในประเทศที่พัฒนามีรายได้จากการส่งออกเป็นเพียงส่วนน้อยเมื่อเทียบกับรายได้ทั้งหมด ยกตัวอย่างเช่น ในสหรัฐอเมริกา กว่า 66% ของผู้ส่งออกมีรายได้จากการส่งออกน้อยกว่า 10% ของรายได้รวม และมีเพียงแค่ 4.3% ของผู้ส่งออกเท่านั้นที่มีรายได้จากการส่งออกเกินครึ่งหนึ่งของรายได้รวม ทั้งนี้ ค่าเฉลี่ยของสัดส่วนรายได้ที่มาจากการส่งออกของเหล่าผู้ส่งออกในสหรัฐฯ อยู่ที่ร้อยละ 14 ซึ่งรายได้จากการส่งออกที่มีสัดส่วนน้อยนี้ยังพบในประเทศอื่น ๆ ด้วย อาทิ ประเทศฝรั่งเศส และ โคลัมเบีย จึงอาจสรุปได้ว่า ผู้ประกอบการที่ส่งออกมักพึ่งพิงตลาดในประเทศเป็นหลัก และรายได้จากการขายให้ตลาดต่างประเทศเป็นเพียงรายได้เสริม...

[อ่านต่อที่ ThaiPublica]

ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
Topics: International TradeProductivity and Technological ChangeEconometrics
Tags: export intensitybimodalityfirm productivity
ดวงดาว มหากิจศิริ
ดวงดาว มหากิจศิริ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิศรุต สุวรรณประเสริฐ
วิศรุต สุวรรณประเสริฐ
Middle Tennessee State University

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

เงื่อนไขการให้บริการ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2566 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

เอกสารเผยแพร่ทุกชิ้นสงวนสิทธิ์ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

รับจดหมายข่าว PIER

Facebook
YouTube
Email