Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
TH
EN
Research
Research
Discussion Paper
PIERspectives
aBRIDGEd
PIER Blog
Thailand and the Middle-Income Trap: An Analysis from the Global Value Chain Perspective
Latest discussion Paper
Thailand and the Middle-Income Trap: An Analysis from the Global Value Chain Perspective
ค่าเงินบาทผันผวน: “ตัวปรับสมดุล” หรือ “ตัวป่วน” เศรษฐกิจไทย
Latest aBRIDGEd
ค่าเงินบาทผันผวน: “ตัวปรับสมดุล” หรือ “ตัวป่วน” เศรษฐกิจไทย
Events
Events
Conferences
Research Workshops
Policy Forums
Seminars
Exchanges
Confidence and College Applications: Evidence from a Randomized Intervention
Latest PIER Economic Seminar
Confidence and College Applications: Evidence from a Randomized Intervention
The Impact of Climate Change on Thai Households
Latest PIER Research Exchange
The Impact of Climate Change on Thai Households
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
Puey Ungphakorn
Institute for
Economic Research
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Community
Community
PIER Research Network
Visiting Fellows
Funding and Grants
PIER Research Network
PIER Research Network
Funding & Grants
Funding & Grants
About Us
About Us
Our Organization
Announcements
PIER Board
Staff
Work with Us
Contact Us
Staff
Staff
ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรไทย
Latest announcement
ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรไทย
PIERspect•ıvespierspectives
Perspectives from the Frontier
QR code
Year
2021
...
/static/10edd8ec6d3f138e04b61379673fb231/41624/cover.jpg
26 April 2021
20211619395200000

โอกาส กับ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ

โอกาส กับ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ

ประเด็นเรื่องความเหลื่อมล้ำของประเทศไทยนั้นมักจะได้รับความสนใจอยู่เสมอ แม้ตัวเลขทางการจะแสดงว่าความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของไทยมีแนวโน้มลดลงในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมาก่อนวิกฤตโรคระบาดโควิด-19 แต่มักจะถูกโต้แย้งว่าความเหลื่อมล้ำของไทย โดยเฉพาะด้านความมั่งคั่ง นั้นอยู่ในระดับสูงมาก บทความนี้นำเสนอภาพใหญ่ของเรื่องความเหลื่อมล้ำว่ามีหลากหลายมิติ และในแต่ละมิตินั้น มีความสัมพันธ์กันอย่างไร โดยเริ่มด้วยการนำเสนอกรอบความคิดว่าความเหลื่อมล้ำทางโอกาสตั้งแต่วัยเด็กนั้นส่งผลเป็นความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นมิติด้านรายได้หรือการบริโภค ซึ่งส่งผลต่อไปเป็นความเหลื่อมล้ำด้านความมั่งคั่ง ส่วนต่อมา ทบทวนบทบาทของนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนโยบายที่มุ่งบรรเทาปัญหาเฉพาะหน้าและนโยบายเพื่อแก้ปัญหาเชิงโครงสร้าง และส่วนสุดท้ายนำเสนอหลักฐานเชิงประจักษ์ในมิติต่าง ๆ ของความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย โดยรวมถึงมิติการศึกษา สุขภาพ การเข้าถึงทรัพยากรและบริการขั้นพื้นฐาน ตลาดแรงงาน ภาคเกษตร ภาคธุรกิจ การบริโภค และความมั่งคั่ง

Download full text
The views expressed in this workshop do not necessarily reflect the views of the Puey Ungphakorn Institute for Economic Research or the Bank of Thailand.
Nada Wasi
Nada Wasi
Puey Ungphakorn Institute for Economic Research
Krislert Samphantharak
Krislert Samphantharak
University of California San Diego

Puey Ungphakorn Institute for Economic Research

273 Samsen Rd, Phra Nakhon, Bangkok 10200

Phone: 0-2283-6066

Email: pier@bot.or.th

Terms of Service | Personal Data Privacy Policy

Copyright © 2023 by Puey Ungphakorn Institute for Economic Research.

Content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Unported license.

Creative Commons Attribution NonCommercial ShareAlike

Get PIER email updates

Facebook
YouTube
Email